สารปฏิชีวนะจากเลือดจระเข้พันธุ์ไทยมีฤทธิ์ต้านเชื้อ แบคทีเรียหลายชนิดโดยทำให้เซลล์แต
ความสาม
สารปฏิชีวนะจากเลือดจระเข้พันธุ์ไทยมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียหลายชนิดโดยทำให้เซลล์แตก
ารถของเลือดจระเข้น้ำจืดพันธุ์ไทยในการทำลายเชื้อแบคทีเรีย
บทคัดย่อ
สารประกอบที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียถูกสกัดด้วยวิธีการแลกเปลี่ยนแอนไอออน การกรองผ่านเจล และเอชพีแอลซี จนกระทั่งได้สารปฏิชีวนะจำนวน 6 ชนิด ได้แก่ Hp14, Hp15, Hp17, Hp31, Hp36 และ Hp51 เมื่อนำมาสกัดและแยกบริสุทธิ์ พบว่าสามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด เช่น แซลโมเนลลา ไทฟี่ อี โคไล แสตปฟิลโลคอคคัส ออเรียส และ อีพิเดอมิดีส เครปเซลลา นิมโมเนีย สูโดโมแนส แอโรจิโนซ่า และ วิบริโอ คลอเลล่า การตรวจวัดน้ำหนักโมเลกุลสารปฏิชีวนะ 3 ชนิด ได้แก่ Hp14, Hp15, และ Hp51 ด้วยวิธี MALDI-TOF พบว่ามีขนาดเล็กกว่า 1 กิโลดาลตัน เมื่อส่องดูการทำงานของสารปฏิชีวนะเหล่านี้ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน พบว่าสารปฏิชีวนะพุ่งเป้าทำลายเซลล์เมมเบรนหรือเยื่อบุเซลล์ของแบคทีเรียโดยตรง สารปฏิชีวนะเหล่านี้ทำหน้าที่เหมือนสารเปปไทด์ที่มีฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรีย และอาจหมายถึงระบบภูมิคุ้มกันขั้นปฐมภูมิในจระเข้น้ำจืดพันธุ์ไทยอีกด้วย
Antibacterial activity from Siamese crocodile (Crocodylus siamensis) serum
Abstract
Antibacterial agents were purified from Siamese crocodile serum by anion exchange, gel filtration and reversed phase HPLC. Six antibacterial agents designed as Hp14, Hp15, Hp17, Hp31, Hp36 and Hp51 were purified and proved to carry activity against Salmonella typhi, Escherichia coli, Staphylococcus aureus, Staphylococcus epidermidis, Klebsiella pneumoniae, Pseudomonas aeruginosa and Vibrio chorelae. The mass analysis of MALDI-TOF for antibacterial agent of Hp14, Hp15 and Hp51 revealed that they are small molecule with a molecular mass less than 1 kDa. The scanning electron microscopy demonstrated that these agents targeted the bacterial membrane and they act like as antimicrobial peptides. The antibacterial agent in the serum may represent the first line of an immune system in a freshwater crocodile.
ที่มา: Sutthidech et al. 2008. Antibacterial activity from Siamese crocodile (Crocodylus siamensis) serum African Journal of
Biotechnology. Vol. 7 (17): 3121-3128.